เทศบาลตำบลท่าข้าม อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
ข้อมูลทั่วไป
คำขวัญ
ที่ตั้งและข้อมูลพื้นฐาน
ภูมิประเทศ
อาณาเขตที่ติดต่อ
สถานที่ท่องเที่ยว
สภาพทั่วไป
ร้องเรียนทุจริต
 
โครงสร้างบริหาร
 คณะผู้บริหาร
 สภาเทศบาลฯ
 หัวหน้าส่วนราชการ
 กองช่าง
 กองคลัง
 กองการศึกษา
 สำนักปลัด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ข้อมูลทั่วไป

สภาพทั่วไป

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

 ๑. ด้านกายภาพ

          ๑.๑  ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล

ที่ตั้งของหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลท่าข้าม

ตำบลท่าข้าม   ประกอบด้วย

                    หมู่ที่  ๑  บ้านท่าข้าม

                    หมู่ที่  ๒  บ้านห้วยแล้ง

                    หมู่ที่  ๓  บ้านโล๊ะ

                    หมู่ที่  ๔  บ้านขวากใต้

                    หมู่ที่  ๕  บ้านขวากเหนือ

-       บ้านห้วยติ้ว (หมู่บ้านบริวาร)

-       บ้านป่าตึง   (หมู่บ้านบริวาร)

                   หมู่ที่   ๖  บ้านวังผา  

                   

เทศบาลตำบลท่าข้าม แบ่งเขตการเลือกตั้งดังนี้

เขตเลือกตั้งที่ ๑ ประกอบด้วย

                             หมู่ที่  ๑  บ้านท่าข้าม

                             หมู่ที่  ๒  บ้านห้วยแล้ง

                             หมู่ที่  ๓  บ้านโล๊ะ

เขตเลือกตั้งที่ ๒ ประกอบด้วย

                             หมู่ที่  ๔ บ้านขวากใต้

                             หมู่ที่  ๕  บ้านขวากเหนือ

-       บ้านห้วยติ้ว (หมู่บ้านบริวาร)

-       บ้านป่าตึง (หมู่บ้านบริวาร)

          หมู่ที่ ๖  บ้านวังผา

สำนักงานเทศบาลตำบลท่าข้าม

                   ตั้งอยู่ที่ ๒๒๙ หมู่  ๕  ตำบลบ้านท่าข้าม  อำเภอเวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

โทรศัพท์  ๐๕๓-๑๖๐๓๘๑

-  โทรสาร    ๐๕๓-๑๖๐๓๘๒

๑.๒  ลักษณะภูมิประเทศ                                                                  

                   เทศบาลตำบลท่าข้าม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดเชียงราย มีลักษณะภูมิประเทศที่เป็นทั้งที่ราบลุ่มมีแม่น้ำงาวไหลผ่าน และเป็นภูเขาสลับซับซ้อน มีชายแดนติดต่อกับประเทศลาวและมีแม่น้ำโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติ  เนื้อที่ (แสดงเนื้อที่โดยประมาณเป็นตารางกิโลเมตรและไร่) ตำบลท่าข้าม มีเนื้อที่ทั้งหมด ๖๗    ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ประมาณ ๔๑,๘๗๕ ไร่     

๑.๓  ลักษณะภูมิอากาศ

เป็นแบบมรสุมเขตร้อน มี ๓ ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ดังนี้

ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม  อากาศร้อนและแห้งแล้ง         แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตกก่อให้เกิดความ เสียหายแก่ประชาชนทุกปี

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม ตุลาคม  แต่อาจเกิดช่วงฝนทิ้งซึ่งอาจนานประมาณ ๑ ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือน

 

ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง

๑.๔ ลักษณะของดิน

                    ลักษณะดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย  ประมาณ  ๗๕% ดินลูกรังประมาณ ๑๕ % ลักษณะดินในพื้นที่เป็นดินเหนียวประมาณ ๑๐ % 

๑.๕  ลักษณะของแหล่งน้ำ

                    มีแหล่งน้ำที่ใช้สำหรับ  อุปโภค-บริโภค  จำนวน  5  แห่ง   แหล่งน้ำทั้ง ๕ แห่งเคยเป็นแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและเทศบาลได้ดำเนินการปรับปรุงก่อสร้างขึ้นใหม่เพื่อเพียงพอกับการอุปโภคและบริโภคของประชาชน  ดังนี้

                   ลำห้วย           ๙        แห่ง     สระน้ำ           ๔        แห่ง

                   หนองน้ำ          ๓        แห่ง     บ่อน้ำตื้น         ๑๒๐    แห่ง

                   ลำคลอง -         แห่ง     บ่อบาดาล        ๑๕      แห่ง

                   บึง                -         แห่ง     อ่างเก็บน้ำ        -         แห่ง

                   แม่น้ำ             ๑        แห่ง     ฝาย               ๕๐      แห่ง

                   อื่นๆ (ระบุ)       -         แห่ง     เหมือง            -         แห่ง

๑.๕ ลักษณะของไม้และป่าไม้

                   ในเขตเทศบาลมีป่าดงดิบและป่าสนเขา สลับกับป่าไผ่   

๒. ด้านการเมือง/การปกครอง       

การเมืองในเขตเทศบาลตำบลท่าข้าม ประชาชนทุกคนสนใจการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นอย่างมาก เช่น การเลือกตั้งระดับประเทศ และการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น จำนวนผู้มีสิทธิ์มาใช้สิทธิ์กันอย่างมาก สนใจนโยบายพรรคการเมืองระดับประเทศ ระดับดับท้องถิ่น และเข้าใจสิทธิของตนเองที่มีทางการเมืองมากขึ้น

๒.๑ เขตการปกครอง

กิ่งอำเภอเวียงแก่น ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ตั้งเป็นกิ่งอำเภอเวียงแก่น ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 114 ตอนที่ 67 เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2530 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2530 มีเขตปกครอง รวม 3 ตำบล คือ ตำบลม่วงยาย ตำบลปอ และตำบลหล่ายงาว ตั้งที่ว่าการกิ่งอำเภอที่ตำบลม่วงยาย ให้อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 

กิ่งอำเภอเวียงแก่นได้เปิดทำการให้บริการประชาชน ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2530 เป็นต้นมา มีเขตการปกครองเดิม 3 ตำบล

ต่อมาปี พ.ศ.2531 ได้ตั้งตำบลท่าข้ามขึ้นอีก 1 ตำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลให้ท้องที่อำเภอพญาเม็งราย อำเภอเทิง และกิ่งอำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย

ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 171 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2531 มีผลตั้งแต่ 12 ตุลาคม 2531 ให้ตั้งตำบลท่าข้าม     โดยโอนหมู่บ้าน จำนวน 5 หมู่บ้านจากตำบลปอ ในท้องที่กิ่งอำเภอเวียงแก่น อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จึงทำให้กิ่งอำเภอเวียงแก่นในขณะนั้น มีเขตการปกครองเพิ่มขึ้นเป็น 4 ตำบล 

ต่อมากิ่งอำเภอเวียงแก่น ได้ยกฐานะเป็นอำเภอเวียงแก่น ตามพระราชกฤษฎีกา ตั้งอำเภอด่านมะขามเตี้ย อำเภอแก่งหางแมว อำเภอภักดีชุมพล อำเภอเวียงแก่น อำเภอแม่วาง อำเภอถ้ำพรรณรา อำเภอบ่อเกลือ อำเภอโนนสุวรรณ อำเภอห้วยราช อำเภอแม่ลาน อำเภอบางแก้ว อำเภอป่าพะยอม อำเภอหนองม่วงไข่ อำเภอยางสีสุราช อำเภอจังหาร อำเภอบ้านธิ อำเภอภูสิงห์ อำเภอบางกล่ำ อำเภอวังม่วง และอำเภอนายูง พ.ศ. 2538 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 32 ก หน้า 1 โดยประกาศเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2538 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2538 เหตุผลในการประกาศพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ กิ่งอำเภอเวียงแก่น อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย และกิ่งอำเภออื่นๆ ที่ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอ เพื่อประโยชน์แก่การปกครอง การให้บริการของรัฐ และความสะดวกของประชาชนและส่งเสริมท้องที่ให้เจริญยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ มีผลให้เป็นอำเภอเวียงแก่นโดยสมบูรณ์ ในวันที่ 8 กันยายน 2538 มีท้องที่การปกครองรวม 4 ตำบล ประกอบด้วย ตำบลม่วงยาย ตำบลหล่ายงาว ตำบลท่าข้าม และตำบลปอ นับเป็นอำเภอที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 13 ของจังหวัดเชียงราย

ปี พ.ศ.2537 จัดตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ได้จัดตั้งขึ้นตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย

ปี พ.ศ.2552 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ได้ยกฐานะขึ้นเป็น เทศบาลตำบลท่าข้าม ขนาดเล็ก

ปี พ.ศ.2559 เทศบาลตำบลท่าข้าม ได้เปลี่ยนจาก เทศบาลขนาดเล็ก มาเป็นเทศบาลสามัญ มาจนถึงปัจจุบัน                  อาณาเขตของเทศบาลตำบลท่าข้าม

                   ทิศเหนือ          ติดต่อกับ         ตำบลหล่ายงาวและตำบลม่วงยาย

                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ         สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

                   ทิศใต้             ติดต่อกับ         ตำบลปอ

                    ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         ตำบลครึ่งอำเภอเชียงของ

๒.๒ การเลือกตั้ง

          ในเขตเทศบาลตำบลท่าข้าม   มีทั้งหมด    หมู่บ้าน 2 หมู่บ้านบริวาร มีการแบ่งเขตการเลือกตั้ง

เป็น 2 เขตเลือกตั้ง ประกอบด้วย

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย หมู่บ้านท่าข้าม หมู่บ้านห้วยแล้ง หมู่บ้านโล๊ะ มีสมาชิกสภาฯ ได้ 6 คน

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย หมู่บ้านขวากใต้ หมู่บ้านขวากเหนือ หมู่บ้านวังผา มีสมาชิกสภาได้ 6 คน

๓. ประชากร

          ๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร

 
 

จำนวนชุมชน

 ชุมชน (ใส่เฉพาะตัวเลขเท่านั้น !!!)


ชุมชนที่

ชื่อชุมชน

จำนวนครัวเรือน

หญิง

ชาย

1

245 ครัวเรือน

324 คน

289 คน

2

596 ครัวเรือน

1,138 คน

1,144 คน

3

362 ครัวเรือน

41 คน

384 คน

4

196 ครัวเรือน

218 คน

207 คน

5

532 ครัวเรือน

939 คน

976 คน

6

  

105 ครัวเรือน

191 คน

236 คน

 

๓.๒ ช่วงอายุและจำนวนประชากร

เทศบาลตำบลท่าข้าม อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย

 

หญิง

ชาย

หมายเหตุ

จำนวนประชากรเยาวชน

978 คน

985 คน

อายุต่ำกว่า 18 ปี

จำนวนประชากร

1,880 คน

1,857 คน

อายุ 18-60 ปี

จำนวนประชากรผู้สูงอายุ

390 คน

399 คน

อายุมากกว่า 60 ปี

รวม

3,248 คน

3,241 คน

ทั้งสิ้น 6,489 คน

 

๔. สภาพทางสังคม

๔.๑ การศึกษา

พื้นที่ตำบลท่าข้าม  มีสถานศึกษา จำนวน 5 แห่ง ดังนี้

1.โรงเรียนขุนขวากพิทยา  ตั้งอยู่ที่ หมู่ 5 ตำบลท่าข้าม 

2.โรงเรียนบ้านท่าข้าม ตั้งอยู่ที่ หมู่ 1 ตำบลท่าข้าม

3.โรงเรียนบ้านโล๊ะ  ตั้งอยู่ที่ หมู่ 3 ตำบลท่าข้าม

4.โรงเรียนสมถวิลจิตมัยบ้านห้วยแล้ง ตชด.อนุสรณ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านห้วยแล้ง

5.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตตำบลท่าข้าม จำนวน 6 ศูนย์

เด็กทุกคนที่ถึงเกณฑ์ ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน ส่วนเยาวชนที่ไม่ได้รับการศึกษาในระบบ ก็ได้มีการศึกษาในระบบการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ประชาชนของตำบลท่าข้าม ร้อยละ 70 สามารถอ่านออกเขียนได้  

                   

๔.๒ สาธารณสุข

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี  มีการคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง  โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน  ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน  โรคเอดส์                  โรคไข้เลือดออก  มือ-ปาก-เท้าในเด็ก และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล  ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี  การแก้ไขปัญหา คือ เทศบาลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล  ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง  ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี  แต่ต้องเป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี  สำหรับเด็กแรกเกิด - ๖  ปี  ผู้ปกครองสามารถเลี้ยงดูตรงตามเกณฑ์มาตรฐาน จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ  การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม  การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ  และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ  ปัญหาเหล่านี้เทศบาลพยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข โดยร่วมมือกับโรงพยาบาล สาธารณสุข  จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา 

                      หน่วยงานด้านสาธารณสุข

                             -  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล  จำนวน  ๑   แห่ง     

๔.๓ อาชญากรรม

                    เทศบาลไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น  แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และทำลายทรัพย์สินของราชการ  ซึ่งเทศบาลก็ได้ดำเนินการป้องกันการเกิดเหตุดังกล่าว จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า  ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี  มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทางเทศบาลตำบลท่าข้าม ได้หาแนวทางป้องกันอาชญากรรม  คือการติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดที่เป็นที่สาธารณะ  ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ  ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน    แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่   ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก  การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน  ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ  ผลเสียหาย  และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท  การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ  ผู้นำ  อปพร.  เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง  แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้  ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้             

๔.๔ ยาเสพติด

ปัญหายาเสพติดในตำบลท่าข้าม  นับว่าเป็นปัญหาใหญ่ปัญหาหนึ่งเนื่องจากว่าเป็นพื้นที่ที่อยู่ติดชายแดน จึงเป็นที่พักพิงของยาเสพติด จึงทำให้มีการจำหน่ายยาเสพติดให้กับเยาวชนในพื้นที่มีเยาวชนส่วนหนึ่งที่หลงผิดไปติดยา สร้างปัญหาให้ครอบครัว สังคม จึงทำให้ตำบลท่าข้าม มีทั้งผู้เสพและผู้จำหน่าย การแก้ไขปัญหาของเทศบาลสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น  เช่น  การรณรงค์  การประชาสัมพันธ์  การแจ้งเบาะแส  การฝึกอบรมให้ความรู้  ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่  ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เทศบาลก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด 

          ๔.๕ การสังคมสังเคราะห์

                    เทศบาลได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้

๑. ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  และผู้ป่วยเอดส์ 

๒. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด

๓. ประสานการทำบัตรผู้พิการ

4. ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน  ยากไร้  รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง            

5. ตั้งโครงการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน     

๕. ระบบบริการพื้นฐาน

          ในเขตเทศบาลมีระบบบริการพื้นฐาน  ดังนี้

๕.1 การไฟฟ้า

การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์  ทางเทศบาลได้จัดสรรงบประมาณในการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะเพื่อส่องสว่างในซอยหมู่บ้านที่มีความเสี่ยงแล้ว  เพื่อเป็นแก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนในการสัญจรช่วงเวลากลางคืน

๕.2 การประปา

การประปา ในเขตตำบลท่าข้าม หมู่บ้านจะเป็นคนบริหารการประปาเอง น้ำประปาส่วนใหญ่จะเป็นน้ำธรรมชาติจากลำห้วย (ประปาภูเขา) ทุกหลังคาเรือนมีน้ำประปาใช้ สำหรับหน้าแล้งน้ำจากลำห้วยจะแห้ง ทำให้ประชาชนไม่มีน้ำดื่ม น้ำใช้กัน เป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ประมาณช่วงเดือน เมษายน-มิถุนายน  ของทุกปีจะประสบปัญหาภัยแล้ง ในปี งบประมาณ. พ.ศ. 2559 เทศบาลตำบลท่าข้าม ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อมาแก้ไขปัญหาภัยแล้ง เช่น โครงการขุดบ่อน้ำตื้น ก่อสร้างแท้งค์เก็บน้ำ สูบน้ำจากน้ำงาว ปรับปรุงแท้งค์เก็บน้ำขนาดใหญ่ของส่วนราชการอื่นให้ใช้ประโยชน์ได้ นี้เป็นการแก้ไขปัญหาในการขาดแคลนน้ำของหมู่บ้านของเทศบาลตำบลท่าข้าม

๕.3  เส้นทางคมนาคม

ในเขตเทศบาลมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่เทศบาลที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ  ๗๐  โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก ให้ครบทุกสาย  ปัจจุบันเทศบาลมีเส้นทางคมนาคม  ดังนี้

(๑)  การคมนาคม  การจราจร

                              ๑.๑ทางหลวงแผ่นดิน  

                                      -  หมายเลข      1155  สายบ้านลุง-ปางค่า

                             ๑.๒สะพาน    จำนวน   2    สะพาน

๖. ระบบเศรษฐกิจ

อาชีพ ประชากรในเขตเทศบาลตำบลท่าข้ามส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ข้าวโพด ทำสวนส้มโอ สวนยางพารา   ลำไย เลี้ยงสัตว์ โค สุกร และบางส่วนประกอบอาชีพค้าขาย และรับจ้างทั่วไป

          สินค้าและพืชเศรษฐกิจของพื้นที่

หมู่ที่ 1 บ้านท่าข้าม ได้แก่  ผ้าทอไทยลื้อ  ส้มโอ    ยางพารา

หมู่ที่ 2 บ้านห้วยแล้ง  ได้แก่  หัตถกรรมชาวเขา  ข้าวโพด ขิง  หอม   ยางพารา  มันสำปะหลัง 

หมู่ที่ 3  บ้านโล๊ะ  ได้แก่  ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกล้วย ส้มโอ  ลำไย  ยางพารา

หมู่ที่ 4  บ้านขวากใต้  ได้แก่  ส้มโอ  ลำไย  ข้าวโพด สุราพื้นบ้าน  ยางพารา 

หมู่ที่ 5  บ้านขวากเหนือ ได้แก่  ส้มโอ   ลำไย ขนมหวาน  ลิ้นจี่  เงาะ  ยางพารา  มันสำปะหลัง

หมู่ที่ 6  บ้านวังผา  ได้แก่  เครื่องจักรสานจากไม้ไผ่  ส้มโอ   ยางพารา  ข้าวโพด 

๖.๑ การเกษตร 

ประชากรในเขตเทศบาล ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่  ข้าวโพด ส้มโอ ลำไย เงาะ ขิง เป็นต้น

อาชีพเกษตรกรรม      ร้อยละ      90  ของจำนวนประชากรทั้งหมด        

อาชีพเลี้ยงสัตว์          ร้อยละ       3   ของจำนวนประชากรทั้งหมด     

อาชีพรับจ้าง            ร้อยละ        1  ของจำนวนประชากรทั้งหมด     

อาชีพค้าขาย            ร้อยละ        6  ของจำนวนประชากรทั้งหมด     

๖.๒ การประมง

                    ในเทศบาลตำบลท่าข้าม มีการเลี้ยงกบ เลี้ยงปลาดุ เป็นส่วนใหญ่และเป็นการเลี้ยงเพื่อบริโภคในครัวเรือนเท่านั้น

๖.๓ การปศุศัตว์

 เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น  การเลี้ยงไก่  เป็ด  โค  สุกร  กระบือ  เนื่องจากพื้นที่ในการเลี้ยงสัตว์มีจำนวนจำกัด จึงเลี้ยงได้ในปริมาณที่ไม่เยอะ

๖.๔ การบริการ

          ร้านค้า            จำนวน           38      แห่ง

โรงแรม           จำนวน            1        แห่ง

ร้านอาหาร       จำนวน            8        แห่ง

ปั้นน้ำมัน         จำนวน           3        แห่ง

๖.๕ การท่องเที่ยว

                    ในเขตเทศบาลไม่มีแหล่งท่องเที่ยว  แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน  เช่น  การจัดงานประเพณีต่างๆ  การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ

๖.6 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

การพาณิชย์

          ตำบลท่าข้าม พื้นที่ส่วนใหญ่ยังเป็นชุมชน ชนบท ยังใช้ชีวิตแบบดั้งเดิม การดำเนินกิจการทางด้านธุรกิจจึงยังไม่ได้รับการพัฒนามากเท่าที่ควร ส่วนมากเป็นการค้าขายแบบเป็นแหล่งผลิตสินค้าทางการเกษตร  แต่ก็มีธุรกิจการค้าอยู่ คือ

1.      ร้านค้า …38…  แห่ง 

1.นายของ  แสงงาม                          ตั้งอยู่เลขที่ 53/.1  .ท่าข้าม

2.นายตาคำ  ยาวิเริง                         ตั้งอยู่เลขที่ 206  ม.1  .ท่าข้าม

3.นายบุญ  ยาวิเริง                           ตั้งอยู่เลขที่  33/.1  ต.ท่าข้าม

4.นายทรงเดช  ลือชา                        ตั้งอยู่เลขที่  9/.1  ต.ท่าข้าม

5.นายอุทัย  สมควร                          ตั้งอยู่เลขที่  120  .1  ต.ท่าข้าม

6.นางวันดี  ไชยลังการ                       ตั้งอยู่เลขที่  17  ม.1  .ท่าข้าม

7.นางขันคำ  ไชยลังการ                                ตั้งอยู่เลขที่  91  ม.1  .ท่าข้าม

8.นางเสาวลักษณ์  ศักดิ์สิทธานุภาพ         ตั้งอยู่เลขที่  212  .2  .ท่าข้าม

9.นายสมชัย  วงศ์บุญชัยเลิศ                 ตั้งอยู่เลขที่  264  .2  ต.ท่าข้าม

10.นายวัฒนา  ศักดิ์สิทธานุภาพ            ตั้งอยู่เลขที่  89/.2  .ท่าข้าม

11.นางจารุวรรณ  หมั่นพัฒนาการ          ตั้งอยู่เลขที่  277/.2  .ท่าข้าม

12.นางลัย  ไชยประเสริฐ                    ตั้งอยู่เลขที่  89/.3  .ท่าข้าม

13.นายสมเพชร  ลือชา                      ตั้งอยู่เลขที่  170/.3  .ท่าขาม

14.นายแดง  แสงงาม                        ตั้งอยู่เลขที่  43/. 3  ต.ท่าข้าม

15.นายเรืองศักดิ์  แซ่จั่น                     ตั้งอยู่เลขที่  87/.3  .ท่าข้าม

16.นายเสาร์  แสงงาม                       ตั้งอยู่เลขที่  43/.3  .ท่าข้าม

17.นายกานต์  ไชยลังการ                   ตั้งอยู่เลขที่  224  .3  .ท่าข้าม

18.นายวัดย์  ไชยลังการ                     ตั้งอยู่เลขที่  178  ม.3  .ท่าข้าม

19.นายสิน  เจือจันทร์                       ตั้งอยู่เลขที่  93  .3  .ท่าข้าม

20.นายอิ่นแก้ว  ยาวิเลิง                     ตั้งอยู่เลขที่  87/.3  .ท่าข้าม

21.นางเบญจรัตน์  โททัสสะ                 ตั้งอยู่เลขที่  12  .2  .ปอ

22.นางจิรพร  ธะนันไชย                    ตั้งอยู่เลขที่  10  .4  .ท่าข้าม

23.นายสมบุญ  อาจหาญ                    ตั้งอยู่เลขที่  52  ม.4  .ท่าข้าม

24.นางนันต์  แข่งขัน                        ตั้งอยู่เลขที่  132  .5  .ท่าข้าม

25.นายพัฒน์  แก้วสุข                       ตั้งอยู่เลขที่  150  .5  .ท่าข้าม

26.นายเทิง  ชาวส้าน                        ตั้งอยู่เลขที่  129  .5  .ท่าข้าม

27.นางสาวสุรณี  ธะนันไชย                 ตั้งอยู่เลขที่ 211  .5  .ท่าข้าม

28.นายลือศักดิ์  ธรรมะธัญา                 ตั้งอยู่เลขที่  267  .5  .ท่าข้าม

29.นายเลาเส็ง  แซ่เห้อ                       ตั้งอยู่เลขที่  169  .5  . ท่าข้าม

30.นางยอด  แข่งขัน                         ตั้งอยู่เลขที่  260  .5  .ท่าข้าม

31.นางธัญชนก  หัตถกอง                   ตั้งอยู่เลขที่  239  .5  .ท่าข้าม

32.นางไล  แข่งขัน                           ตั้งอยู่เลขที่  191  .5  .ท่าข้าม

33.นายปรีชา  ปัญญาศาล                   ตั้งอยู่เลขที่  88  ม.5  .ท่าข้าม

34.นางเบญจมาศ  นุธรรม                   ตั้งอยู่เลขที่  209  .5  .ท่าข้าม

35.นางปิม  สกุลวิไล                         ตั้งอยู่เลขที่  142  .5  .ท่าข้าม

36.นายเพชร  บุญมา                        ตั้งอยู่เลขที่  55  .5  .ท่าข้าม

37.นางสามารถ  ดีมาก                       ตั้งอยู่เลขที่  27  .4  .ท่าข้าม

38.นางเทียน  วังมูล                          ตั้งอยู่เลขที่  54/.4  .ท่าข้าม

2.ปั้มน้ำมัน

-แบบหัวจ่าย  …1….  แห่ง

1.นางดวงตา  ไชยลังการ                     ตั้งอยู่เลขที่  80/.3  .ท่าข้าม

2.บริษัทปิโตรเลียมไทยคอร์เปอร์เรชั่นจำกัด ตั้งอยู่เลขที่ 262/1 ตั้งอยู่ที่ หมู่ 5 ต.ท่าข้าม

 -แบบปั้มหลอด  …4…  แห่ง

                   1.นางวันดี  ไชยลังการ                       ตั้งอยู่เลขที่  17  .1  .ท่าข้าม

2.นายแดง  แสงงาม                          ตั้งอยู่เลขที่  43/.3  .ท่าข้าม

3.นางจิรพร  ธะนันไชย                       ตั้งอยู่เลขที่  10  .4  .ท่าข้าม

4.นางสาวสุรณี  ธะนันไชย                   ตั้งอยู่เลขที่  211  .5  . ท่าข้าม

 

3.โรงงานอุตสาหกรรมบ่มใบยาสูบ (ขนาดเล็ก )  จำนวน  …1.. แห่ง

          1.นางพิสมัย   ชินะข่าย                      ตั้งอยู่เลขที่ 120/1  ม. ต.ท่าข้าม

4.อู่ซ่อมรถมีจำนวน  …4…  แห่ง

                   1.นายบุญลือ  สมควร                        ตั้งอยู่เลขที่  190  .3  .ท่าข้าม

2.นางดวงตา  ไชยลังการ                     ตั้งอยู่เลขที่  80/.3  .ท่าข้าม

3.นายสายฝน  จินดาธรรม                   ตั้งอยู่เลขที่  122/.5  .ท่าข้าม

4.นายเดช  บุญดี                             ตั้งอยู่เลขที่  21  ม.5  .ท่าข้าม

5.โรงสีข้าว  …12….  แห่ง

                   1.นายของ  แสงงาม                          ตั้งอยู่เลขที่  53/.1  .ท่าข้าม

2.นายศรีไว  ลือชา                           ตั้งอยู่เลขที่  38  .1     ต.ท่าข้าม

3.นางจันทร์  อุ่นต้าว                         ตั้งอยู่เลขที่  32  .1     .ท่าข้าม

4.นายพงษ์ศักดิ์  ศักดิ์สิทธานุภาพ           ตั้งอยู่เลขที่  99  .2     .ท่าข้าม

5.นายสมชัย  วงศ์บุญชัยเลิศ                 ตั้งอยู่เลขที่  264  .2    .ท่าข้าม

6.นายปั่นแก้ว  ไชยประเสริฐ                ตั้งอยู่เลขที่  89/.3  .ท่าข้าม

7.นายกิติโชติ  จินดาธรรม                   ตั้งอยู่เลขที่  33/1  ม.3  .ท่าข้าม

8.นายบุญชม  นพคุณ                        ตั้งอยู่เลขที่  30  .4     ต.ท่าข้าม

9.นางปัน  ยาวิเลิง                            ตั้งอยู่เลขที่  24  .4     .ท่าข้าม

10. นางไล  แข่งขัน                          ตั้งอยู่เลขที่  191  .5    ต.ท่าข้าม

11.นางชัฐรา   ถาวงศ์                       ตั้งอยู่เลขที่  11  .5     .ท่าข้าม

12.นายแปง  รักสว่าง                        ตั้งอยู่เลขที่  14  .6     ต.ท่าข้าม

5.โรงกลั่นสุราพื้นบ้านมีจำนวน  ……1....  แห่ง

          1.นางบุญ   ทะนันไชย                       ตั้งอยู่ที่ ม.4  ต.ท่าข้าม

6.ตลาดสด   ..…1….  แห่ง

          1.ตลาดประชารัฐบ้านขวากเหนือ  ตั้งอยู่ที่ ม.5 ต.ท่าข้าม

7.บ้านเช่า/ห้องเช่า   ……5….  แห่ง

          1.นางพิมพร   ไชยลังการ                     ตั้งอยู่เลขที่  42  .1      ต.ท่าข้าม

          2.นายแสวง   แสงงาม                       ตั้งอยู่เลขที่  87  .3      ต.ท่าข้าม

          3.นายสมเกียรติ   แสงงาม                   ตั้งอยู่เลขที่  234  .3  ต.ท่าข้าม

          4.นายจอมแสง   ยาวิเลิง                     ตั้งอยู่เลขที่  135  .3  ต.ท่าข้าม

          5.นายอินถา   ยาวิเลิง                       ตั้งอยู่เลขที่  38/1  .3  ต.ท่าข้าม

8.อื่นๆ    …20…. แห่ง

          1.นายสวย  ไชยลังการ              รับเหมาก่อสร้าง  ตั้งอยู่เลขที่  11  .1  ต.ท่าข้าม

          2.นายชัยพล  ลือชา                 ร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ตั้งอยู่เลขที่229/1.3  ต.ท่าข้าม

          3.นางวันเพ็ญ  ยาวิเลิง              ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า          ตั้งอยู่เลขที่ 176.3  ต.ท่าข้าม

          4.นายสุเชษฐ์  ศิริทักษิณ            ร้านจำหน่ายมือถือ        ตั้งอยู่เลขที่ 38/1.3  ต.ท่าข้าม

          5.นายสมเกียรติ  บุญญานุพงศ์     ร้านจำหน่ายอาหารสัตว์ ตั้งอยู่เลขที่171.3  ต.ท่าข้าม

          6.นางธนัญญา  ก๋าวงศ์             คลินิกการพยาบาลและผดุงครรภ์  ตั้งอยู่เลขที่ 135  ม.3

          7.นายสิน   เจือจันทร์               ร้านอินเตอร์เน็ต เกมส์  ตั้งอยู่เลขที่ 93.3  ต.ท่าข้าม

          8.นางคำพา  ไชยลังการ            ร้านรับซื้อของเก่า          ตั้งอยู่เลขที่  237.3  ต.ท่าข้าม

          9.นางถนอมศรี  ธรรมานุวงศ์       ร้านจำหน่ายพันธุ์ไม้       ตั้งอยู่เลขที่133.3  ต.ท่าข้าม

          10.น.ส.ธัญภัค  หงส์สามสิบเก้า    ร้านจำหน่ายสินค้าเกษตร ตั้งอยู่เลขที่  238  ม.3

          11.นายภานุวัฒน์   สมควร        ร้านจำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า ตั้งอยู่เลขที่ 64.4 ต.ท่าข้าม

          12.นายตาคำ   สมควร             รับซื้อขายสุกร              ตั้งอยู่เลขที่ 14  ม.4   ต.ท่าข้าม

          13.นางเครือวรรณ  กิลัย           ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า    ตั้งอยู่เลขที่ 109.5  ต.ท่าข้าม

          14.นางนิตยา  ธะนันไชย          ร้านจำหน่ายโลงศพ  ตั้งอยู่เลขที่ 8    ม.5  ต.ท่าข้าม

          15.นางนัฏฐิกา  นาวา              ร้านเสริมสวย       ตั้งอยู่เลขที่  ม.5  ต.ท่าข้าม

          16.นางผา   มังกรณ์                ร้านเฟอร์นิเจอร์   ตั้งอยู่เลขที่ 45   ม.5  ต.ท่าข้าม

          17.นายวัชระ   ทะนันไชย         ร้านตัดผม           ตั้งอยู่เลขที่ 99   ม.3  ต.ท่าข้าม

          18.นางประกายทิพย์  นุธรรม      ที่ดินให้เช่า          ตั้งอยู่เลขที่ 121.5  ต.ท่าข้าม         

          19.นายเจริญ  กิลัย                 รับเหมาก่อสร้าง   ตั้งอยู่เลขที่ 293.5  ต.ท่าข้าม

          20.นายผ่องใส  บุดดี                ร้านรับซื้อของเก่า  ตั้งอยู่เลขที่116/1.5  ต.ท่าข้าม

 

กลุ่มอาชีพ

มีกลุ่มอาชีพ  จำนวน  9  กลุ่ม

                             ๑. กลุ่มเลี้ยงกบบ้านโล๊ะ

                             ๒. กลุ่มเลี้ยงกบขวากใต้

                             3.กลุ่มตัดเย็บท่าข้าม (ห้วยติ้ว)

                             4. กลุ่มตัดเย็บขวากเหนือ

                             5. กลุ่มอนุรักษ์ ทอผ้าไทลื้อ

                             6. กลุ่มทอผ้าบ้านท่าข้าม

                             7. กลุ่มจักสานบ้านห้วยติ้ว

                             8. กลุ่มตัดเย็บห้วยแล้ง

                             9.กลุ่มจักสานตำบลท่าข้าม

 

 

๖.๘ แรงงาน

                    จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นคนอายุประมาณ 40-60 ปี ซึ่งประกอบอาชีพเกษตรกร รองลงมาคืออายุ 30-40 ปี ส่วนกลุ่มแรงงานส่วนใหญ่จะทำงานในพื้นที่เป็นส่วนมาก                    ดังนั้นในพื้นที่ตำบลท่าข้าม จึงมีแรงงานต่างด้าวมาทำงานเป็นส่วนน้อย

๗. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

          7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน

          จำนวนหมู่บ้าน ในเขตเทศบาลตำบลท่าข้าม 

ตำบลท่าข้าม แบ่งการปกครองในเขตเทศบาลตำบลมี   6  หมู่บ้านหลัก  และมีหมู่บ้านบริวาร  2 หมู่บ้าน  ดังนี้

 

หมู่ที่  1  บ้านท่าข้าม

วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน

ชุมชนเข้มแข็ง   สังคมมีสุข     เรียนรู้และพัฒนาตนเอง

ข้อมูลทั่วไป

1.  ชื่อหมู่บ้าน      ท่าข้าม    หมู่ที่    1    ตำบล ท่าข้าม อำเภอ  เวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

2.  พื้นที่ทั้งหมด...........2,800............ไร่           ที่นา..........1,050.......ไร่   ที่สวน..........400........ไร่

                   ที่อยู่อาศัย.................1,350........ไร่         แหล่งน้ำสาธารณะ............3...........แห่ง

                    ที่สาธารณประโยชน์...........150............ไร่

3.  จำนวนครัวเรือน.............208............ครัวเรือน

4.  จำนวนประชากร.........611........คน    ชาย....292...คน   หญิง.....319.......คน

                   ผู้สูงอายุ.............96................คน    คนพิการ..........28............คน 

5.  ที่ตั้ง / อาณาเขต

                    อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ  เวียงแก่น  ระยะทาง..............12............กิโลเมตร

                    อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย  ระยะทาง.....................130...........กิโลเมตร

                    มีอาณาเขต  ดังนี้

                             ทิศเหนือ          ติดต่อกับ   บ้านขวากใต้  หมู่ที่ 4 ตำบลท่าข้าม

                             ทิศใต้             ติดต่อกับ   บ้านปอกลาง  หมู่ที่ 5 ตำบลปอ

                             ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ    แม่น้ำงาวและบ้านโล๊ะ หมู่ที่ 3 ตำบลท่าข้าม

          ทิศตะวันออก ติดต่อกับ   บ้านห้วยแล้ง  หมู่ที่ 2 ตำบลท่าข้าม      สันเขาดอยยาว  ต.ครึ่ง  อ.เชียงของ

 

6.  ลักษณะภูมิประเทศ

                    พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา  และมีป่าไม้   

7.  สภาพภูมิอากาศ    สภาพอากาศทั่วไป จะมี  3 ฤดู คือ ฤดูร้อน  ฤดูฝน และฤดูหนาว   อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างเย็นสบาย

8.  การคมนาคม     การสัญจรไปมาสะดวก มีถนนลาดยางและถนนคอนกรีตถึงอำเภอ

9.  อายุชุมชน............175.............ปี

 

 

 

 

 

10.  ชื่อผู้ใหญ่บ้าน    นายนวน       สมควร         

11.  ประวัติหมู่บ้าน

ประมาณ 200 ปีมาแล้วอพยพมาจากเมืองเงินประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตอนแรกมาตั้งรกรากหรือมาตั้งหมู่บ้าน ประมาณ 10 หลังคาเรือน ตอนแรกขึ้นอยู่กับ หมู่ที่ 4 ตำบลปอ กิ่งอำเภอเวียงแก่น ตอนแรกยังไม่มีนามสกุลใช้ โดยการนำของนายปัญญา เป็นผู้ตั้งนามสกุลคนแรก  ต่อมา  ปี 2531  แบ่งแยกการปกครองออกจาก     หมู่ที่ 4 ตำบลปอ  เป็น บ้านท่าข้าม จนถึงปัจจุบัน

ที่มา : ข้อมูลจากแผนชุมชนหมู่บ้านท่าข้าม    ณ  เดือนเมษายน 2556

หมู่ที่  2  บ้านห้วยแล้ง           

วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน

วัฒนธรรมชนเผ่าม้ง  มั่นคงประเพณี  เศรษฐกิจเกษตรกรรม

ข้อมูลทั่วไป

1.  ชื่อหมู่บ้าน   ห้วยแล้ง       หมู่ที่    2    ตำบลท่าข้าม

                    อำเภอ  เวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

2.  พื้นที่ทั้งหมด  50,000   ไร่           ที่นา   1,000  ไร่   ที่สวน    2,000  ไร่

                   ที่อยู่อาศัย  300  ไร่         แหล่งน้ำสาธารณะ   4   แห่ง

                   ที่สาธารณประโยชน์    500   ไร่

3.  จำนวนครัวเรือน...............488................ครัวเรือน

4.  จำนวนประชากร........1,769......คน    ชาย......878.....คน  หญิง......891......คน

ผู้สูงอายุ..............87.................คน             คนพิการ............28..........คน 

5.  ที่ตั้ง / อาณาเขต

                    อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ  เวียงแก่น  ระยะทาง.............7.............กิโลเมตร

                    อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย  ระยะทาง...................140..............กิโลเมตร

                    มีอาณาเขต  ดังนี้

                             อาณาเขตติดต่อ

ทิศเหนือ          ติดต่อ             บ้านท่าข้าม ม.1 ต.ท่าข้าม

ทิศใต้              ติดต่อ             บ้านปอกลาง  ม.5 ต.ปอ

ทิศตะวันออก     ติดต่อ             บ้านปอกลาง ม.5 ต.ปอ

ทิศตะวันตก      ติดต่อ             สันเขาดอยยาว ต.ครึ่ง  อ.เชียงของ

 

6.  ลักษณะภูมิประเทศ   พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา  และมีป่าไม้   

7.  สภาพภูมิอากาศ    สภาพอากาศทั่วไป จะมี  3 ฤดู คือ ฤดูร้อน  ฤดูฝน และฤดูหนาว   อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างเย็นสบาย

8.  การคมนาคม     การสัญจรไปมาสะดวก มีถนนลาดยางและถนนคอนกรีตถึงอำเภอ

9.  อายุชุมชน...........48............ปี

10. ชื่อผู้ใหญ่บ้าน    นายวัฒนา       ศักดิ์สิทธานุภาพ       

11.  ประวัติหมู่บ้าน

เดิมจากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ อพยพมาจากบ้านห้วยกุ๊ก ห้วยส้านเก่า ประมาณ  ปี 2508  ต่อมามีประชากร  มาตั้งรกรากมากขึ้น จึงจัดตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้น ตามทำเลพื้นที่หมู่บ้านลำห้วยแล้งจึงตั้งชื่อหมู่บ้าน ง่ายๆว่า บ้านห้วยแล้ง                    

ที่มา : ข้อมูลจากแผนชุมชนหมู่บ้านห้วยแล้ง    ณ  เดือนเมษายน 2556

 

 

หมู่ที่  3  บ้านโล๊ะ                 

วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน

ร่วมใจสามัคคี   อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทลื้อ

ข้อมูลทั่วไป

1.  ชื่อหมู่บ้าน      โล๊ะ    หมู่ที่    3   ตำบล ท่าข้าม   

                   อำเภอ  เวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

2.  พื้นที่ทั้งหมด...........2,800............ไร่           ที่นา..........1,050.......ไร่   ที่สวน..........400........ไร่

    ที่อยู่อาศัย.................1,350........ไร่         แหล่งน้ำสาธารณะ............3...........แห่ง

    ที่สาธารณประโยชน์...........150............ไร่

3.  จำนวนครัวเรือน................313...............ครัวเรือน

4.  จำนวนประชากร......827.....คน    ชาย......396......คน  หญิง.......431.....คน

ผู้สูงอายุ........138...........คน                   คนพิการ........40..........คน 

5.  ที่ตั้ง / อาณาเขต

                    อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ  เวียงแก่น  ระยะทาง..............11............กิโลเมตร

                    อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย  ระยะทาง.....................160...........กิโลเมตร

                    มีอาณาเขต  ดังนี้

                             ทิศเหนือ          ติดต่อกับ   บ้านขวากใต้  หมู่ที่ 4 ตำบลท่าข้าม

                             ทิศใต้             ติดต่อกับ   บ้านปอกลาง   หมู่ที่ 5  ตำบลปอ

                             ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ    สปป.ลาว

                             ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ    สันเขาดอยยาว  ต.ครึ่ง  อ.เชียงของ

6.  ลักษณะภูมิประเทศ

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา  และมีป่าไม้   

7.  สภาพภูมิอากาศ    สภาพอากาศทั่วไป จะมี  3 ฤดู คือ ฤดูร้อน  ฤดูฝน และฤดูหนาว   อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างเย็นสบาย

8.  การคมนาคม    มีถนนคอนกรีตเสริมเหล็กในหมู่บ้าน

9.  อายุชุมชน............306.............ปี

10. ชื่อผู้ใหญ่บ้าน    นายกิติโชติ   จินดาธรรม          

11. ประวัติหมู่บ้าน                      

ประมาณ 200 ปีมาแล้ว ตั้งถิ่นฐานอยู่แคว้นสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน ตอนใต้   อพยพมาตั้งรกราก บริเวณชายแดนริมแม่น้ำโขง ตอนแรกขึ้นอยู่กับ หมู่ที่ 4 ตำบลปอ  กิ่งอำเภอเวียงแก่น  ต่อมา  แบ่งแยกการปกครองออกจาก หมู่ที่ 4 ตำบลปอ  เป็น โล๊ะ จนถึงปัจจุบัน

ที่มา : ข้อมูลจากแผนชุมชนหมู่บ้านโล๊ะ    ณ  เดือนเมษายน 2556

 

หมู่ที่  4  บ้านขวากใต้  

วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน

ขยัน   ประหยัด   ซื่อสัตย์   พึ่งพา   นำประชาสู่  เศรษฐกิจพอเพียง

ข้อมูลทั่วไป

1.  ชื่อหมู่บ้าน     ขวากใต้    หมู่ที่    4    ตำบล ท่าข้าม

                   อำเภอ  เวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

 

2.  พื้นที่ทั้งหมด...........5,000............ไร่           ที่นา..........500.......ไร่   ที่สวน..........1,500........ไร่

    ที่อยู่อาศัย.................80........ไร่         แหล่งน้ำสาธารณะ............8...........แห่ง

    ที่สาธารณประโยชน์...........17............ไร่

3.  จำนวนครัวเรือน.................148..............ครัวเรือน

4.  จำนวนประชากร..........422.......คน    ชาย......214.....คน  หญิง.......208.......คน

ผู้สูงอายุ.............43..............คน      คนพิการ.........15.............คน 

 

5.  ที่ตั้ง / อาณาเขต

                    อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ  เวียงแก่น  ระยะทาง..............7............กิโลเมตร

                    อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย  ระยะทาง.....................160...........กิโลเมตร

                    มีอาณาเขต  ดังนี้

                             ทิศเหนือ          ติดต่อกับ   บ้านขวากเหนือ  หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม

                             ทิศใต้             ติดต่อกับ   บ้านโล๊ะ     หมู่ที่ 3 ตำบลท่าข้าม

                             ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ    ประเทศสปป.ลาว

                             ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ    สันเขาดอยยาว  ต.ครึ่ง  อ.เชียงของ

6.  ลักษณะภูมิประเทศ

                    พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา  และมีป่าไม้   

7.  สภาพภูมิอากาศ    สภาพอากาศทั่วไป จะมี  3 ฤดู คือ ฤดูร้อน  ฤดูฝน และฤดูหนาว   อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างเย็นสบาย

8.  การคมนาคม     การสัญจรไปมาสะดวก มีถนนลาดยางและถนนคอนกรีตถึงอำเภอ

9.  อายุชุมชน............33.............ปี

10. ชื่อผู้ใหญ่บ้าน    นายปี ไชยลังการ                      

11.  ประวัติหมู่บ้าน

เดิมขึ้นอยู่กับ หมู่ที่ 7 ตำบลปอ  กิ่งอำเภอเวียงแก่น  รวมอยู่กับ บ้านขวากเหนือ ต่อมามีการแบ่งแยกการปกครอง          ชื่อว่าบ้านขวากใต้ จนถึงปัจจุบัน 

ที่มา : ข้อมูลจากแผนชุมชนหมู่บ้านขวากใต้    ณ  เดือนเมษายน 2556

หมู่ที่  5  บ้านขวากเหนือ         

วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน

ศูนย์ราชการระดับตำบล    ชุมชนเข้มแข็ง   แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

          ข้อมูลทั่วไป

1.  ชื่อหมู่บ้าน     ขวากเหนือ    หมู่ที่    5    ตำบล ท่าข้าม

                   อำเภอ  เวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

2.  พื้นที่ทั้งหมด...........40,000............ไร่           ที่นา..........134.......ไร่   ที่สวน..........2,000........ไร่

     ที่อยู่อาศัย.................530........ไร่         แหล่งน้ำสาธารณะ............4...........แห่ง

     ที่สาธารณประโยชน์...........1,336............ไร่

3.  จำนวนครัวเรือน................409................ครัวเรือน

 

4.  จำนวนประชากร....... 1,664.....คน    ชาย......847......คน  หญิง......817.....คน

ผู้สูงอายุ.............136.............คน   

คนพิการ...........47............คน 

5.  ที่ตั้ง / อาณาเขต

                    อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ  เวียงแก่น  ระยะทาง..............8............กิโลเมตร

                    อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย  ระยะทาง.....................132...........กิโลเมตร

                    มีอาณาเขต  ดังนี้

                             ทิศเหนือ          ติดต่อกับ   บ้านไทยสามัคคี  หมู่ที่ 6 ตำบลม่วงยาย

                             ทิศใต้             ติดต่อกับ   บ้านขวากใต้   หมู่ที่ 4 ตำบลท่าข้าม

                             ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ    ประเทศสปป.ลาว

                             ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ    บ้านทุ่งคำ  หมู่ที่ 2 ตำบลหล่ายงาว

6.ลักษณะภูมิประเทศ

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบมีภูเขาล้อมรอบ  มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 4,000 ไร่  เป็นที่อยู่อาศัย  539  ไร่   พื้นที่ทำการเกษตรประมาณ 1,000  ไร่  และพื้นที่สาธารณประโยชน์ประมาณ  336 

7.  สภาพภูมิอากาศ    สภาพอากาศทั่วไป จะมี  3 ฤดู คือ ฤดูร้อน  ฤดูฝน และฤดูหนาว   อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างเย็นสบาย

8.  การคมนาคม     การสัญจรไปมาสะดวก มีถนนลาดยางและถนนคอนกรีตถึงอำเภอ

9.  อายุชุมชน............56.............ปี

10. ชื่อผู้ใหญ่บ้าน    นายสังเวียน   นุธรรม  (กำนันตำบลท่าข้าม)   

11.  ประวัติหมู่บ้าน

จัดตั้งเป็นหมู่บ้านเมื่อปี  พ.ศ. 2489  ให้ชื่อหมู่บ้านว่า  บ้านขวากเหนือ  มีบ้านบริวาร  2  หมู่บ้าน  คือ บ้านห้วยติ้ว เป็นชนเผ่าม้ง   และบ้านป่าตึง   เป็นชนเผ่าขมุ

          ที่มา : ข้อมูลจากแผนชุมชนหมู่บ้านขวากเหนือ    ณ  เดือนเมษายน 2556

 

หมู่ที่  6  บ้านวังผา

วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน

สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีชนเผ่าขมุ   เรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียง

          ข้อมูลทั่วไป

1.  ชื่อหมู่บ้าน  วังผา  หมู่ที่  6   ตำบลท่าข้าม อำเภอ  เวียงแก่น   จังหวัดเชียงราย

2.  พื้นที่ทั้งหมด   1,500 ไร่           ที่นา 100  ไร่   ที่สวน   300  ไร่

                   ที่อยู่อาศัย 80  ไร่         แหล่งน้ำสาธารณะ  แห่ง

                   ที่สาธารณประโยชน์.  .ไร่

3.  จำนวนครัวเรือน   …….92…….   ครัวเรือน

4.  จำนวนประชากร .…419……คน    ชาย …..218…..คน     หญิง…..201…..คน

                   ผู้สูงอายุ. …………16……………คน            คนพิการ..........7............คน 

5.  ที่ตั้ง / อาณาเขต

                    อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ  เวียงแก่น  ระยะทาง..........13................กิโลเมตร

                    อยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย  ระยะทาง.....................180...............กิโลเมตร

                    มีอาณาเขต  ดังนี้

                   ทิศเหนือ          ติดต่อกับ............บ้านขวากใต้............

                   ทิศใต้             ติดต่อกับ.............บ้านโล๊ะ..................

                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ.............สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ.............บ้านท่าข้าม……….

6.  สภาพภูมิประเทศ    เป็นดอยสูงสลับกับที่ราบ

7.  สภาพภูมิอากาศ..........มีสามฤดู คือ ฤดูร้อน..ฤดูฝน...และฤดูหนาว ...แต่ ฤดูหนาวอากาศจะหนาวมาก

8.  การคมนาคม    มีถนนคอนกรีตเริมเหล็กเข้าถึงหมู่บ้าน

9.  อายุชุมชน.............41................ปี

10.ชื่อผู้ใหญ่บ้าน         นายคำดี   รักสว่าง  

11.  ประวัติหมู่บ้าน

          สมัยปู่ย่าตายายดั้งเดิมอาศัยอยู่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบันแล้วอพยพข้ามเขาห้วยเฮี้ยะเข้ามาทำมาหากินในเขตพื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์ในประเทศไทยชื่อบ้านห้วยเฮี้ยะ หมู่ที่ 5 ตำบลปอ อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ก็เริ่มมีลูกหลานมากขึ้นและจำนวนคนเพิ่มมากขึ้นทำให้พื้นที่ในหมู่บ้านเพียงพอจึงได้ทำการบุกเบิกพื้นที่ป่าเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยสำหรับลูกหลานในรุ่นต่อไป

          จากการบุกเบิกป่าในครั้งนี้ทำให้มีการบุกเข้าไปในเขตป่าลึกและมีการป่วยและตายจากการเป็นไข้ป่าและเมื่อมีการตายเป็นจำนวนมากทำให้หมอผีทำการเสี่ยงทายและทำพิธีกรรมสังเวยป่าแต่มีจำนวนการตายเพิ่มขึ้นหมอผีจึงแนะนำให้ทำการย้ายหมู่บ้านเพื่อล้างอาถรรพ์ป่า จึงทำการอพยพลูกบ้านจากบ้านห้วยเฮี้ยะมาอาศัยอยู่บ้านโล๊ะ หมู่ที่ 3  ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น ในฐานะหมู่บ้านบริวาร และได้อาศัยทำมาหากินตลอดทำให้มีประชากรเพิ่มมากขึ้นตามลำดับมาจนถึงปี พ.. 2540 ได้แยกหมู่บ้านเป็นเอกเทศ

                    ที่มา : ข้อมูลจากแผนชุมชนหมู่บ้านวังผา    ณ  เดือนเมษายน 2556

๗.๒ ข้อมูลด้านการเกษตร

 

          (๑)  บ้านท่าข้าม หมู่ 1 

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,450  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ ในเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ นอกเขตชลประทาน

 130   ครัวเรือน

 380         ไร่

   610    กก./ไร่

   2,500    บาท/ไร่

   8,200    บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา        .

   25  ครัวเรือน

  378       ไร่

  600  กก./ไร่

   1,500    บาท/ไร่

  8,400    บาท/ไร่

สวน   ส้มโอ...              .

  1    ครัวเรือน

   5         ไร่

  600    กก./ไร่

  2,000    บาท/ไร่

  8,400    บาท/ไร่

สวน  ลำไย               .

  15   ครัวเรือน

  40   ไร่

  300     กก./ไร่

  3,000     บาท/ไร่

  8,400     บาท/ไร่

สวน                 .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

           ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ   ไร่ข้าวโพด

   110 ครัวเรือน

   927  ไร่

   950    กก./ไร่

    3,000  บาท/ไร่

  6,500     บาท/ไร่

¨  ไร่มันสำปะหลัง

      ครัวเรือน

          ไร่

           กก./ไร่

           บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

þ   อื่นๆ โปรดระบุ

   ถั่วแขก            .

 35    ครัวเรือน

  40       ไร่

   4,200  กก./ไร่

   6,000   บาท/ไร่

    6,300   บาท/ไร่

 

(๒)  บ้านห้วยแล้ง หมู่ ๒ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  3,000  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ ในเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ นอกเขตชลประทาน

   30  ครัวเรือน

   250       ไร่

   350    กก./ไร่

    200     บาท/ไร่

   4,200    บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน ยางพารา     .

 450  ครัวเรือน

 4,500   ไร่

  600    กก./ไร่

  1,500    บาท/ไร่

 8,400     บาท/ไร่

สวน ลำไย     .

    15 ครัวเรือน

  150    ไร่

 300   กก./ไร่

     300   บาท/ไร่

  8,400,    บาท/ไร่

สวน  เงาะ               .

   7   ครัวเรือน

  37      ไร่

   7     กก./ไร่

     300   บาท/ไร่

    1,000   บาท/ไร่

สวน มะม่วง      .

    10 ครัวเรือน

  150     ไร่

  6.00    กก./ไร่

    2,000   บาท/ไร่

1,080  บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

           ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 þ  ไร่ข้าวโพด

 450  ครัวเรือน

 4,500     ไร่

   350    กก./ไร่

     1,000   บาท/ไร่

   2,500   บาท/ไร่

 þ  ไร่มันสำปะหลัง

  50  ครัวเรือน

  1,000     ไร่

    600   กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

þ   อื่นๆ โปรดระบุ

ข้าวไร่                   .

450   ครัวเรือน

 4500 ไร่

  350    กก./ไร่

   500     บาท/ไร่

   4,200  บาท/ไร่

 

(๓)  บ้านโล๊ะ หมู่ 3

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,450  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ ในเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ นอกเขตชลประทาน

 180   ครัวเรือน

1,000        ไร่

  375    กก./ไร่

 2,500    บาท/ไร่

    4,875 บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ยางพารา       .

  30  ครัวเรือน

 300      ไร่

  600    กก./ไร่

  1,500    บาท/ไร่

 8,400     บาท/ไร่

สวน  ลำไย     .

 90  ครัวเรือน

 600    ไร่

  300   กก./ไร่

   3,000   บาท/ไร่

             บาท/ไร่

สวน ส้มโอ        .

 15    ครัวเรือน

 80     ไร่

 6.00    กก./ไร่

    2,000    บาท/ไร่

  8,400  บาท/ไร่

สวน                 .

 

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

2.4) อื่นๆ

 þ ไร่ข้าวโพด

  150  ครัวเรือน

  2,000   ไร่

 1,200    กก./ไร่

   2,000    บาท/ไร่

 6,200    บาท/ไร่

þ ไร่มันสำปะหลัง

   1   ครัวเรือน

  30         ไร่

    600  กก./ไร่

   1000    บาท/ไร่

    1,080   บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ อื่นๆ โปรดระบุ

   ถั่วแขก,.

  40   ครัวเรือน

   80        ไร่

   2,800    กก./ไร่

  6,200     บาท/ไร่

   40,000   บาท/ไร่

 

 

 

 

 

 

                                                                                                                                                   

          (๔)  บ้านขวากใต้ หมู่ 4

มีพื้นที่ทั้งหมด  2,000  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ ในเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ นอกเขตชลประทาน

   59  ครัวเรือน

   360       ไร่

  300   กก./ไร่

  2,000     บาท/ไร่

  3,600     บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  ส้มโอ          .

  15   ครัวเรือน

 75     ไร่

  600    กก./ไร่

 2,000     บาท/ไร่

    8,400  บาท/ไร่

สวน  ลำไย      .

 15  ครัวเรือน

  150   ไร่

    300   กก./ไร่

  3,000  บาท/ไร่

  8,400     บาท/ไร่

สวน  เงาะ       .

   3  ครัวเรือน

  10         ไร่

   300    กก./ไร่

     1,000   บาท/ไร่

 6,000    บาท/ไร่

สวน  ยางพารา              .

  15   ครัวเรือน

  280      ไร่

   600    กก./ไร่

 2,000   บาท/ไร่

  8.d400   บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨  ไร่อ้อย

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  ไร่ข้าวโพด

105    ครัวเรือน

             ไร่

  350    กก./ไร่

    800    บาท/ไร่

  2,500     บาท/ไร่

þ  ไร่มันสำปะหลัง

  1   ครัวเรือน

  30         ไร่

   600  กก./ไร่

   1,000    บาท/ไร่

   1,080    บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

   ยาสูบ,                                                                                                                                                                                                                                                                                                               ถั่วแขก                 

 54    ครัวเรือน

             ไร่

   800    กก./ไร่

2,500    บาท/ไร่

  9,600     บาท/ไร่

 

(๕)  บ้านขวากเหนือ

(๕)  บ้านขวากเหนือ หมู่ 5

มีพื้นที่ทั้งหมด  2,134  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ ในเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ นอกเขตชลประทาน

   52 รัวเรือน

  330        ไร่

   400    กก./ไร่

    800     บาท/ไร่

    3600   บาท/ไร่

 

2.2) ทำสวน

สวน  ลำไย               .

 20    ครัวเรือน

  70      ไร่

  300     กก./ไร่

 2,000      บาท/ไร่

   8,000   บาท/ไร่

สวน  ยางพารา      .

 30  ครัวเรือน

 270     ไร่

   600   กก./ไร่

 2,000   บาท/ไร่

  8,                                                               8400   บาท/ไร่

สวน  ส้มโอ     .

  16   ครัวเรือน

 60    ไร่

   600   กก./ไร่

   2,000    บาท/ไร่

   8,400   บาท/ไร่

สวน ส้มเขียวหวาน    .

  1    ครัวเรือน

 2      ไร่

  600    กก./ไร่

 6,000     บาท/ไร่

  8,000    บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

¨ ไร่อ้อย

      ครัวเรือน

            ไร่

           กก./ไร่

         

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 þ ไร่ข้าวโพด

 48    ครัวเรือน

 250     ไร่

 1,000     กก./ไร่

800      บาท/ไร่

5,000     บาท/ไร่

¨  ไร่มันสำปะหลัง

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

¨  อื่นๆ โปรดระบุ

                     .

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

þ อื่นๆ โปรดระบุ

 ถั่วแขก   ยาสูบ                  .

  28   ครัวเรือน

  85      ไร่

  3,000   กก./ไร่

   2,000   บาท/ไร่

  7,500    บาท/ไร่

 

          (๖)  บ้านวังผา หมู่ 6

มีพื้นที่ทั้งหมด  400  ทำการเกษตร  ดังนี้

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิตเฉลี่ย

(กก./ไร่)

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(บาท/ไร่)

2.1) ทำนา

¨ ในเขตชลประทาน

       ครัวเรือน

             ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

นอกเขตชลประทาน

  12   ครัวเรือน

   91        ไร่

   400    กก./ไร่

    800     บาท/ไร่

   3,600    บาท/ไร่

2.2) ทำสวน

สวน  เงาะ       .

  7    ครัวเรือน

  34     ไร่

  300   กก./ไร่

 1,000    บาท/ไร่

 6,000    บาท/ไร่

สวน   ลำไย              .

  38  ครัวเรือน

 292  ไร่

  300   กก./ไร่

3,000    บาท/ไร่

 8,400     บาท/ไร่

สวน ส้มโอ       .

  2   ครัวเรือน

  14      ไร่

  600   กก./ไร่

  2,000   บาท/ไร่

 8,400    บาท/ไร่

สวน ยางพารา       .

 23  ครัวเรือน

 310     ไร่

   600    กก./ไร่

  2,000   บาท/ไร่

 8,400    บาท/ไร่

2.3) ทำไร่

þ  ไร่ปาล์ม

  1    ครัวเรือน

   8         ไร่

          กก./ไร่

            บาท/ไร่

            บาท/ไร่

þ  ไร่ข้าวโพด

 21    ครัวเรือน

 326       ไร่

   1,000   กก./ไร่

  800    บาท/ไร่

  5,000    บาท/ไร่

þ ไร่กาแฟ

  1    ครัวเรือน

  12      ไร่

           กก./ไร่

             บาท/ไร่

            บาท/ไร่

 þ อื่นๆ โปรดระบุ

ข้าวไร่                .

  30  ครัวเรือน

  305     ไร่

3,000    กก./ไร่

   2,000   บาท/ไร่

   15,000   บาท/ไร่

2.4) อื่นๆ

 þ อื่นๆ โปรดระบุ

   พริก สับปะรด                  .

  3 ครัวเรือน

  23     ไร่

 500     กก./ไร่

   800    บาท/ไร่

  7,500   บาท/ไร่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๗.๓ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำ

๗.๓ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร

(๑)  บ้านท่าข้าม หมู่ ๑ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,450  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

 

900  มิลลิเมตร

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

 

ü

 

ü

10 %

þ 2. ห้วย/ลำธาร

2

 

ü

 

ü

50 %

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨3. ฝาย

1

 

ü

 

ü

10 %

þ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

(๒)  บ้านห้วยแล้ง..

(๒)  บ้านห้วยแล้ง หมู่ ๒ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  3,000  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้      

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 2. ห้วย/ลำธาร

1

 

ü

 

ü

50 %

þ 3. คลอง

2

 

ü

 

ü

50 %

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨4. สระ

 

 

 

 

 

 

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

(๓)  บ้านโล๊ะ ...

          (๓)  บ้านโล๊ะ หมู่ 3

มีพื้นที่ทั้งหมด 1,450  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

 

ü

 

ü

50 %

þ 2. ห้วย/ลำธาร

2

 

ü

 

ü

50 %

þ 3. คลอง

3

 

ü

 

ü

50 %

þ 4. หนองน้ำ/บึง

4

 

ü

 

ü

50 %

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 3. ฝาย

1

 

 

ü

 

 

ü

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

þ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)              .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

(๔)  บ้านขวากใต้ ...

          (๔)  บ้านขวากใต้ หมู่ 4

มีพื้นที่ทั้งหมด  2,000  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

ü

 

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 2. ห้วย/ลำธาร

1

ü

 

ü

 

 

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

50 %

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

þ5. น้ำตก

2

ü

 

ü

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

¨ 3. ฝาย

 

 

 

 

 

 

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

(๕)  บ้านขวากเหนือ ...

          (๕)  บ้านขวากเหนือ หมู่ 5

มีพื้นที่ทั้งหมด  2,134  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

þ 1. แม่น้ำ

1

 

ü

 

ü

50 %

þ 2. ห้วย/ลำธาร

2

 

ü

 

ü

50 %

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

þ 4. หนองน้ำ/บึง

3

 

ü

 

ü

50 %

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

þ  2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

ü

 

ü

50 %

þ 3. ฝาย

 

 

ü

 

ü

50 %

þ  4. สระ

 

 

ü

 

ü

40 %

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                .

6.3)                .

 

 

 

 

 

 

               

 

          (๖)  บ้านวังผา หมู่ 6

มีพื้นที่ทั้งหมด  400  มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร

ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา

(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

3.1) ปริมาณน้ำฝน

 

ü

 

แหล่งน้ำ

ทางการเกษตร

ลำดับ

ความสำคัญ

ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร

ตลอดทั้งปี

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ

3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ

¨ 1. แม่น้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 2. ห้วย/ลำธาร

1

 

 

ü

 

50 %

¨ 3. คลอง

 

 

 

 

 

 

¨ 4. หนองน้ำ/บึง

 

 

 

 

 

 

¨ 5. น้ำตก

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)                .

6.2)                ..

 

 

 

 

 

 

3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น

¨ 1. แก้มลิง

 

 

 

 

 

 

¨ 2. อ่างเก็บน้ำ

 

 

 

 

 

 

þ 3. ฝาย

1

 

 

ü

 

50 %

¨ 4. สระ

 

 

 

 

 

 

¨ 5. คลองชลประทาน

 

 

 

 

 

 

¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ)

6.1)              .

6.2)               .

6.3).........................

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               

 

๗.๔ ข้อมูล...

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๗.๔ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)

(๑)  บ้านท่าข้าม หมู่ ๑ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  ๓,000 มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

ü

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 100 %

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

(๒)  บ้านห้วยแล้ง หมู่ ๒ 

มีพื้นที่ทั้งหมด  3,000 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร  ดังนี้       

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

ü

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 100 %

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

                                                                                        

 

 

 

 

 

 

 

(๓)  บ้านโล๊ะ ...

                    (๓)  บ้านโล๊ะ หมู่ 3

มีพื้นที่ทั้งหมด  1,3๔๕  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

ü

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 100 %

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

ü

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

 

                    (๔)  บ้านขวากใต้ หมู่ 4

มีพื้นที่ทั้งหมด  2,000 มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

 

ü

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 100 %

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

ü

 

ü

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

(๕)  บ้านขวากเหนือ ...

                    (๕)  บ้านขวากเหนือ หมู่ 5

มีพื้นที่ทั้งหมด  2,134  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

 

ü

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 100 %

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

 

 

ü

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

 

 

 

 

 

 

 

                    (๖)  บ้านวังผา หมู่ 6

มีพื้นที่ทั้งหมด 400  มีแหล่งน้ำน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)  ดังนี้

แหล่งน้ำ

ไม่มี

มี

ทั่วถึงหรือไม่

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง

4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

ü

 

 

 

 

 

4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

 

ü

 

ü

 

 100 %

4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

ü

 

 

 

 

 

4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ

ü

 

 

 

 

 

4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)

4.6.1)                               .

4.6.2)                               .

4.6.3)                               .

ü

 

 

 

 

 

 

 

 

๘. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

๘.๑ การนับถือศาสนา

ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ  ร้อยละ   ๙๘

                      วัด    4    แห่ง                 

ผู้ที่นับถือศาสนาคริตส์  ร้อยละ  ๒

                      โบสถ์      2   แห่ง

 

 

๘.๒ ประเพณีและงานประจำปี

ประเพณีวันขึ้นปีใหม่สากล                          ประมาณเดือน   มกราคม

ประเพณีปีใหม่ม้ง                                    ประมาณเดือน  มกราคม

ประเพณีปีใหม่ขมุ                                    ประมาณเดือน   ธันวาคม

-  ประเพณีถวายหนังแดง                              ประมาณเดือน   เมษายน

ประเพณีวันสงกรานต์                                ประมาณเดือน   เมษายน

ประเพณีลอยกระทง                                 ประมาณเดือน   พฤศจิกายน

ประเพณีวันเข้าพรรษา  ออกพรรษา                ประมาณเดือน  กรกฎาคม  ตุลาคม  พฤศจิกายน

 

๘.3 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

                    ประชาชนในเขตเทศบาลได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่  เครื่องจักรสานจากหวายและไม้ไผ่ ผ้าที่ทอจากผ้าทอไทลื้อ 

 

๙. ทรัพยากรธรรมชาติ

          9.1 น้ำ

แม่น้ำ                                       1        สาย (แม่น้ำงาว)

ลำห้วย                            9        สาย (บางแห่งตื้นเขิน)

บึง,หนองและอื่น ๆ               1        แห่ง (หนองโค้ง)

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

-   ฝาย                              65      แห่ง

บ่อน้ำตื้น                         89      แห่ง

บ่อโยก                            15      แห่ง

อื่น ๆ (ระบุ) ประปาหมู่บ้าน (ประปาภูเขา)  6 หมู่บ้าน  หมู่ที่ 1- 6

-  ถังเก็บน้ำฝน                      50      แห่ง

 

          ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน  ณ  เดือนเมษายน 2559

          9.2 ป่าไม้

          ทรัพยากรป่าไม้ สภาพป่าเป็นป่าไม้เบญจพรรณ  เช่น ไม้ตะเคียน  ไม้เต็ง ไม้มะค่า สำหรับไม้สักเหลือจำนวนน้อยมากแต่มีการปลูกทดแทนในพื้นที่เขตป่าสงวนหรือที่สาธารณะบางหมู่บ้านเช่นในเขตป่าช้า ในเขตดงเจ้าประจำหมู่บ้านเป็นต้น พื้นที่ป่าไม้ส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลท่าข้ามถูกทำลายเป็นจำนวนมาก เกิดจาก ไฟป่า และการลักลอบตัด เพื่อใช้งาน และการค้าขาย ปัจจุบันบางพื้นที่ก็ยังอยู่ในช่วงการฟื้นฟูป่าให้กลับมาสู่สภาพเดิมให้มากที่สุด โดยการปลูกทดแทน

          9.3 ภูเขา

ตำบลท่าข้าม มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา สลับกับที่ราบลุ่มแม่น้ำมีป่าไม้อุดสมบูรณ์

9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

             ทรัพยากรป่าไม้ สภาพป่าส่วนมากเป็นป่าไม้เบญจพรรณ  เช่น ไม้ตะเคียน  ไม้เต็ง ไม้มะค่า สำหรับ   ไม้สักเหลือจำนวนน้อยมากแต่มีการปลูกทดแทนในพื้นที่เขตป่าสงวนหรือที่สาธารณะบางหมู่บ้านเช่นในเขตป่าช้า ในเขตดงเจ้าที่ประจำหมู่บ้านเป็นต้น พื้นที่ป่าไม้ส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลท่าข้ามถูกทำลายเป็นจำนวนมาก เกิดจาก ไฟป่า และการลักลอบตัด เพื่อใช้งาน และการค้าขาย ปัจจุบันบางพื้นที่ก็ยังอยู่ในช่วงการฟื้นฟูป่าให้กลับมาสู่สภาพเดิมให้มากที่สุด โดยการปลูกทดแทน

 

๑๐. อื่นๆ

          ๑๐.1  การแก้ไขปัญหา

๑)  สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน  โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน  ไม่ว่าจะเป็น  อำเภอ  ตำรวจ โรงพยาบาล สาธารณสุข ผู้นำชุมชน  ร่วมทำกิจกรรมต่างๆ กับชุมชน  ให้ประชาชนเกิดความไว้วางใจและได้รับความคุ้มครองทางสังคม  มีความเป็นกลาง  รับทราบปัญหาและเร่งแก้ไข

๒)  อำนวยความสะดวก ประสานงาน ให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุน

                   ๓)  ร่วมมือกับอำเภอ  เกษตรอำเภอ  ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการใช้ประโยชน์จากดินและน้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่ของชุมชน เพื่อพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส

                   ๔)  ร่วมมือกับสาธารณสุข โรงพยาบาล  โรงเรียน  ส่งเสริม  รณรงค์ป้องกัน  สุขภาพและอนามัยของประชาชน  ส่งเสริม  จัดกิจกรรมการกีฬาในชุมชน 

                   ๕)  ส่งเสริม  สนับสนุน  เปิดโอกาสให้เด็กได้รับการศึกษา  จัดกิจกรรมให้ความรู้ต่างๆ                                                  

************************************

 

 
  กล่องข้อความ: 86

 

 
เทศบาลตำบลท่าข้าม อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
 
 
เทศบาลตำบลท่าข้าม
229 หมู่ 5 ต.ท่าข้าม อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย 57310
โทร. 053160381 แฟ็กซ์ 053-160-382
 
 
 
 
 
 
 
 
Copyright © 2024 www.thakhamwiangkaen.go.th. All Rights Reserved. Design by Chiangrai Enter Soft